How to Make Quilts : How to Use Velum in Your Log Cabin Quilt
How to Make Quilts : How to Trim Your Velum for Your Log Cabin Quilt
How to Make Quilts : Attach the Raw Edges of Your Log Cabin Quilt
How to Make Quilts : How to Tear Away Paper from a Quilt
ค้นหา
Custom Search
วันศุกร์ที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2554
การควิลท์
สาวๆกลุ่มเราทำงานไวมากๆเลยนะคะคนสอนทำ how to ไม่ทันเลยทีเดียว
หลังจากกุ้นเชือกแล้วก็เย็บกลับ
พอเราเนาเสร็จนะคะ ก็ควิลท์ตามแนวประที่แพทเทิร์นให้มา แนวควิลท์นี่สำคัญมากนะคะ เพราะมันมีผลกับทรงกระเป๋า แนะนำให้ควิลท์ตามลายในแพทเทิร์นนะคะ ถ้าเอาลายอื่นเป้ไม่แน่ใจนะคะ เพราะเคยอ่านในเวปของ rosyquilt เค้าแนะนำให้ควิลท์ตามลายที่่แนะนำจะดีที่สุด (ใช้กูเกิ้ล translate) เค้าเคยทำออกมาออกมาเวอชั่นนิงแล้วเค้าว่าควิลท์อย่างนี้ดีกว่าค่ะ
ตัวกระเป๋าจะควิล์ตามแนวเส้นประ(ลากเส้นประต่อไปจากตัวอย่างที่แพทเทิร์นให้ไว้) แล้วควิลท์เฉลียงสองข้างให้ไปชนเส้นสันทบตรงกึ่งกลางเป็นสามเหลี่ยมตัว V คว่ำ อาจควิลท์ลายเพิ่มได้ตามใจชอบ
ก้นกระเป๋าตีตารางทั้งแผ่น(ลากเส้นต่อจากเส้นประเช่นกัน) ส่วนเส้นตรงโค้งๆเป็นแนวควิลท์ เพิ่มเติมหลังจากควิลท์วีคว่ำ ให้ควิลท์ 4 เส้นตรงนี้จะช่วยทำให้รอยพับตรงกลางสวยขึ้น
ชิ้นข้างกระเป๋าก็เช่นเดียวกัน เย็บกลับก่อน แล้วควิทล์ตามรอยที่ให้ไว้ค่ะ
ควิลท์ครบ 3 ชิ้น
จากนั้นก็สอยประกอบร่าง ถ้าไม่ชำนาญควรเนาก่อนนะคะ (ภาพตัวอย่างไม่ได้กุ๊นเชือกนะคะเริ่มขี้เกียจ ..ทำหลายใบเกิน Y_Y)
สอยทั้งด้านนอกและด้านในนะคะ
อ่านวิธีทำต่อที่
หลังจากกุ้นเชือกแล้วก็เย็บกลับ
พอเราเนาเสร็จนะคะ ก็ควิลท์ตามแนวประที่แพทเทิร์นให้มา แนวควิลท์นี่สำคัญมากนะคะ เพราะมันมีผลกับทรงกระเป๋า แนะนำให้ควิลท์ตามลายในแพทเทิร์นนะคะ ถ้าเอาลายอื่นเป้ไม่แน่ใจนะคะ เพราะเคยอ่านในเวปของ rosyquilt เค้าแนะนำให้ควิลท์ตามลายที่
ตัวกระเป๋าจะควิล์ตามแนวเส้นประ(ลากเส้นประต่อไปจากตัวอย่างที่แพทเทิร์นให้ไว้) แล้วควิลท์เฉลียงสองข้างให้ไปชนเส้นสันทบตรงกึ่งกลางเป็นสามเหลี่ยมตัว V คว่ำ อาจควิลท์ลายเพิ่มได้ตามใจชอบ
ก้นกระเป๋าตีตารางทั้งแผ่น(ลากเส้นต่อจากเส้นประเช่นกัน) ส่วนเส้นตรงโค้งๆเป็นแนวควิลท์ เพิ่มเติมหลังจากควิลท์วีคว่ำ ให้ควิลท์ 4 เส้นตรงนี้จะช่วยทำให้รอยพับตรงกลางสวยขึ้น
ชิ้นข้างกระเป๋าก็เช่นเดียวกัน เย็บกลับก่อน แล้วควิทล์ตามรอยที่ให้ไว้ค่ะ
ควิลท์ครบ 3 ชิ้น
จากนั้นก็สอยประกอบร่าง ถ้าไม่ชำนาญควรเนาก่อนนะคะ (ภาพตัวอย่างไม่ได้กุ๊นเชือกนะคะเริ่มขี้เกียจ ..ทำหลายใบเกิน Y_Y)
สอยทั้งด้านนอกและด้านในนะคะ
อ่านวิธีทำต่อที่
วันอังคารที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2554
การเนาผ้า
วันนี้ไม่รู้จะเอามะพร้าวห้าวมาขายสวนหรือเปล่านะคะ แต่ก็เผื่อไว้ดีกว่า
หลังจาก เย็บกลับ ตัวกระเป๋า และข้างกระเป๋าแล้ว ก็ต้องมาเนาผ้ากันค่ะ
เวลาทำงาน quilt ต้องเนาก่อนที่จะ quilt นะคะ ถ้างานชิ้นไม่ใหญ่มาก ก็อาจจะเนาแค่แนวเดียว(เช่นข้างกระเป๋า) ภาพตัวอย่างของคุณตั๋น beatquiltและคุณ Amarasin (พอดีเป้ไม่ได้ถ่ายของตัวเองไว้)
ถ้าเป็นงานชิ้นใหญ่จะเนาทั้งแนวตั้งและแนวนอนค่ะ อาจมีครูบางท่าน หรือ หนังสือบางเล่มให้เนาเป็นแนวรัศมีก็ได้ค่ะ ส่วนตัวอย่างที่นำมาให้ดูมาจากเวปของเกาหลี
การเนากระจายจากจุดศูนย์กลางออกมาเหมือนดาวกระจาย จะเหมาะกับการควิลท์ผ้า 3 ชิ้น เพราะมันจะดึงผ้าให้ตึง ไม่ย่น ยู่ยี่เวลาควิลท์ การเนาแนวนอนหรือแนวตั้งเหมาะกับการควิลท์สองชิ้น หรือควิลท์ผ้าที่เป็นแบบเย็บกลับมากกว่าค่ะ
อย่างไรก็ตามเพื่อนๆอาจลองดูหลายๆแบบก็ได้ ดูว่าอย่างไหนเราทำงานได้สะดวกก็เลือกใช้แบบนั้นนะคะ
การเนามีประโยชน์เพื่อความสวยงามของชิ้นงานค่ะ จะได้ไม่ย่น ไม่พอง และเพิ่มความสะดวกในการทำงานค่ะ
เช่น จะได้ไม่โดนเข็มหมุดตำ หรือได้เห็นรูปทรงว่าประกอบแล้วถูกสัดส่วนไม๊ ดูให้แน่ใจก่อนลงมือเย็บจริง
เป้จะไม่ใช้ด้ายควิลท์ในการเนานะคะ มันเปลือง 555 ใช้ด้ายวีนัสธรรมดาหลังจากนั้นจึงควิลท์ ให้ควิลท์ด้วยความนุ่มนวล อย่าดึงด้ายตึงมากไป เพราะจะทำให้ผ้าย่น พอควิลท์ไปแล้วชิ้นงานจะหดลง
สำหรับ LV neverfullอย่างที่ได้เคยบอกไปคือผ้าชิ้นหลังต้องเหลือไว้มากกว่าชิ้นหน้า พอควิลท์เสร็จแล้วนำแพทเทิร์นมาวางทาบใหม่อีกทีวัดให้พอดี เผื่อเย็บ 0.7 เพื่อความมั่นใจ แล้วถึงตัดผ้าส่วนที่เกินออกไป
ครั้งหน้าจะมาว่าด้วยการควิลท์นะคะ
อ้างอิง
http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=beatquilt&date=11-11-2010&group=1&gblog=18
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=addsiripun&group=21
หลังจาก เย็บกลับ ตัวกระเป๋า และข้างกระเป๋าแล้ว ก็ต้องมาเนาผ้ากันค่ะ
เวลาทำงาน quilt ต้องเนาก่อนที่จะ quilt นะคะ ถ้างานชิ้นไม่ใหญ่มาก ก็อาจจะเนาแค่แนวเดียว(เช่นข้างกระเป๋า) ภาพตัวอย่างของคุณตั๋น beatquiltและคุณ Amarasin (พอดีเป้ไม่ได้ถ่ายของตัวเองไว้)
ถ้าเป็นงานชิ้นใหญ่จะเนาทั้งแนวตั้งและแนวนอนค่ะ อาจมีครูบางท่าน หรือ หนังสือบางเล่มให้เนาเป็นแนวรัศมีก็ได้ค่ะ ส่วนตัวอย่างที่นำมาให้ดูมาจากเวปของเกาหลี
การเนากระจายจากจุดศูนย์กลางออกมาเหมือนดาวกระจาย จะเหมาะกับการควิลท์ผ้า 3 ชิ้น เพราะมันจะดึงผ้าให้ตึง ไม่ย่น ยู่ยี่เวลาควิลท์ การเนาแนวนอนหรือแนวตั้งเหมาะกับการควิลท์สองชิ้น หรือควิลท์ผ้าที่เป็นแบบเย็บกลับมากกว่าค่ะ
อย่างไรก็ตามเพื่อนๆอาจลองดูหลายๆแบบก็ได้ ดูว่าอย่างไหนเราทำงานได้สะดวกก็เลือกใช้แบบนั้นนะคะ
การเนามีประโยชน์เพื่อความสวยงามของชิ้นงานค่ะ จะได้ไม่ย่น ไม่พอง และเพิ่มความสะดวกในการทำงานค่ะ
เช่น จะได้ไม่โดนเข็มหมุดตำ หรือได้เห็นรูปทรงว่าประกอบแล้วถูกสัดส่วนไม๊ ดูให้แน่ใจก่อนลงมือเย็บจริง
เป้จะไม่ใช้ด้ายควิลท์ในการเนานะคะ มันเปลือง 555 ใช้ด้ายวีนัสธรรมดาหลังจากนั้นจึงควิลท์ ให้ควิลท์ด้วยความนุ่มนวล อย่าดึงด้ายตึงมากไป เพราะจะทำให้ผ้าย่น พอควิลท์ไปแล้วชิ้นงานจะหดลง
สำหรับ LV neverfullอย่างที่ได้เคยบอกไปคือผ้าชิ้นหลังต้องเหลือไว้มากกว่าชิ้นหน้า พอควิลท์เสร็จแล้วนำแพทเทิร์นมาวางทาบใหม่อีกทีวัดให้พอดี เผื่อเย็บ 0.7 เพื่อความมั่นใจ แล้วถึงตัดผ้าส่วนที่เกินออกไป
ครั้งหน้าจะมาว่าด้วยการควิลท์นะคะ
อ้างอิง
http://www.bloggang.com/viewblog.php?id=beatquilt&date=11-11-2010&group=1&gblog=18
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=addsiripun&group=21
การกุ๊นเชือกแบบเย็บมือ
หลังจากที่เพื่อนๆเตียมตัดผ้าเสร็จทุกชิ้นแล้วก็มาถึงตรงกุ๊นเชือกนะคะ ก่อนอื่นก็ต้องเตรียมผ้าเฉลียงก่อน (ขอข้ามเลยนะคะ เพราะคิดว่าทุกคนทำเป็นแล้วนะคะ) กว้าง 2.5 ซม. จับสันทบผ้ากุ๊นใส่เชือกให้อยู่ชิดริมสันทบผ้า เนาด้วยกันดังรูป เวลาเย็บผ้ากุ๊นเชือกต้องให้เชือกชิดแนบริมผ้ากุ๊น
จากนั้นก็กลับผ้าออกมาค่ะ
ถ้าสนใจเย็บตรงกุ๊นเชือกด้วยจักรตามไปที่
http://lovely-sew.blogspot.com/2011/09/blog-post.html
ที่ต้องให้ตัดชายให้เหลือ 0.7 ซม. เพราะบางทีเชือกของเราแต่ละคนหนาไม่เท่ากัน ดังนั้นจึงต้องวัดดูว่าหลังจากสอดเชือกแล้วเหลือแนวตะเข็บกว้าง 0.7 ซม. ตามที่เราต้องการหรือไม่
วางผ้าชิ้นตัวกระเป๋าบนใยสังเคราะห์ และวางกุ๊นเชือกที่แนวขอบทั้งสองด้าน และเนาติดกับชิ้นงานแบบนี้ค่ะ
ถึงตรงที่จะหักออกจากกระเป๋าให้ขลิบผ้านิดนึง ผ้าได้ไม่รั้งไม่ย่นค่ะ
จากนั้นเอาผ้าซับในชิ้นใหญ่ที่เตรียมไว้ มาวางทับดังรูป ให้ด้านถูกชนกัน
เทคนิคสำคัญคือเราต้องเย็บให้ชิดริมเชือกมากที่สุด ให้ใช้มือบีบสัมผัสว่าเชือกอยู่ตรงไหนและเย็บให้ชิดตัวเชือก จนมีความรู้สึกแน่นๆ
เมื่อเย็บเสร็จให้ขลิบใยส่วนเกินออก
จากนั้นก็กลับผ้าออกมาค่ะ
ถ้าสนใจเย็บตรงกุ๊นเชือกด้วยจักรตามไปที่
http://lovely-sew.blogspot.com/2011/09/blog-post.html
เทคนิคการกุ๊นเชือกจ้า
หลังจากที่เพื่อนๆเตียมตัดผ้าเสร็จทุกชิ้นแล้วก็มาถึงตรงกุ๊นเชือกนะคะ ก่อนอื่นก็ต้องเตรียมผ้าเฉลียงก่อน (ขอข้ามเลยนะคะ เพราะคิดว่าทุกคนทำเป็นแล้วนะคะ) กว้าง 2.5 ซม. คนที่เคยเย็บจักรอาจจะงงว่าทำไม มันเล็กจัง เพราะถ้าเย็บจักรเราต้องตัดผ้ากว้าง ประมาณ 3.5 เผื่อเย็บ
การเผื่อตะเข็บสำหรับเย็บจักรจะใหญ่กว่าเย็บมือนะค เย็บจักรมักจะเผือตะเข็บ 1-1.5ซม. แต่เย็บมือจะเผื่อ 0.7ซม. วันนี้เป้จะขอเสนอทั้ง 2 วิธีนะคะ เพื่อให้เพื่อนๆ เทียบดูและปรับใช้ เพราะตัวเป้เองจะชอบเย็บผ้ากุ๊น ด้วยจักร และค่อยตัดส่วนที่เหลือให้เป็น 0.7 ทีหลัง
เวลาประกอบกระเป๋า เย็บข้างกระเป๋า เราสามารถใช้จักร ส่วนตอนควิลท์จะควิลท์มือ เพราะจักรจะเร็วและทนทานกว่า ส่วนใครที่ไม่ชอบใช้จักรก็ไม่เป็นไรนะคะ ใช้เย็บมือหมดก็ไม่ผิดกติการอะไรค่ะ
การเผื่อตะเข็บสำหรับเย็บจักรจะใหญ่กว่าเย็บมือนะค เย็บจักรมักจะเผือตะเข็บ 1-1.5ซม. แต่เย็บมือจะเผื่อ 0.7ซม. วันนี้เป้จะขอเสนอทั้ง 2 วิธีนะคะ เพื่อให้เพื่อนๆ เทียบดูและปรับใช้ เพราะตัวเป้เองจะชอบเย็บผ้ากุ๊น ด้วยจักร และค่อยตัดส่วนที่เหลือให้เป็น 0.7 ทีหลัง
เวลาประกอบกระเป๋า เย็บข้างกระเป๋า เราสามารถใช้จักร ส่วนตอนควิลท์จะควิลท์มือ เพราะจักรจะเร็วและทนทานกว่า ส่วนใครที่ไม่ชอบใช้จักรก็ไม่เป็นไรนะคะ ใช้เย็บมือหมดก็ไม่ผิดกติการอะไรค่ะ
วันพฤหัสบดีที่ 15 กันยายน พ.ศ. 2554
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)